ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รางวัลฯ-คณะการดนตรีแห่งมหาวิทยาลัยเยล"

แถว 6: แถว 6:
  
  
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">บทเพลงพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้สร้างแรงบันดาลใจที่ยิ่งใหญ่ให้แก่ปวงชนชาวไทย ทั้งยังเชื่อมโยงวัฒนธรรมทางดนตรีแห่งโลกตะวันออกและตะวันตกเข้าด้วยกัน
+
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">บทเพลงพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้สร้างแรงบันดาลใจที่ยิ่งใหญ่ให้แก่ปวงชนชาวไทย ทั้งยังเชื่อมโยงวัฒนธรรมทางดนตรีแห่งโลกตะวันออกและตะวันตกเข้าด้วยกัน</div>
</div>
+
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงทำนุบำรุงวัฒนธรรมทางดนตรีของประเทศไทยด้วยการพระราชทานการศึกษและการทรงดนตรี ทรงเป็นผู้นำดนตรีแจ๊สมาเผยแพร่จนเป็นที่รู้จักในประเทศไทย ด้วยเหตุดังกล่าว จึงเป็นที่ประจักษ์แก่นานาชาติทั่วโลกว่าทางเป็นทั้งนัก[[ดนตรี]] นักวิชาการ และนักการศึกษาด้านดนตรี ตลอดจนผู้นำด้านวัฒนธรรม</div>
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงทำนุบำรุงวัฒนธรรมทางดนตรีของประเทศไทยด้วยการพระราชทานการศึกษและการทรงดนตรี ทรงเป็นผู้นำดนตรีแจ๊สมาเผยแพร่จนเป็นที่รู้จักในประเทศไทย ด้วยเหตุดังกล่าว จึงเป็นที่ประจักษ์แก่นานาชาติทั่วโลกว่าทางเป็นทั้งนัก[[ดนตรี]] นักวิชาการ และนักการศึกษาด้านดนตรี ตลอดจนผู้นำด้านวัฒนธรรม
 
</div>
 
 
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">คำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณในฐานะที่ทรงเป็นผู้นำด้านวัฒนธรรม เป็นเครื่องแสดงถึงการตระหนักในพระปรีชาสามารถทางด้าน[[ดนตรี]]อันโดดเด่นของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งมีอิทธิพลอย่างสำคัญยิ่งต่อคุณค่าทางวัฒนธรรมในนานาประเทศทั่วโลก
 
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">คำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณในฐานะที่ทรงเป็นผู้นำด้านวัฒนธรรม เป็นเครื่องแสดงถึงการตระหนักในพระปรีชาสามารถทางด้าน[[ดนตรี]]อันโดดเด่นของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งมีอิทธิพลอย่างสำคัญยิ่งต่อคุณค่าทางวัฒนธรรมในนานาประเทศทั่วโลก
 
</div>
 
</div>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:04, 5 มีนาคม 2551

(คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ)
คำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ในโอกาสที่คณะการดนตรีแห่งมหาวิทยาลัยเยล สหรัฐอเมริกา

ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเหรียญแซนฟอร์ด สดุดีพระเกียรติคุณด้านการดนตรี
ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต
วันอังคาร ที่ ๑๘ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๔๓


บทเพลงพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้สร้างแรงบันดาลใจที่ยิ่งใหญ่ให้แก่ปวงชนชาวไทย ทั้งยังเชื่อมโยงวัฒนธรรมทางดนตรีแห่งโลกตะวันออกและตะวันตกเข้าด้วยกัน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงทำนุบำรุงวัฒนธรรมทางดนตรีของประเทศไทยด้วยการพระราชทานการศึกษและการทรงดนตรี ทรงเป็นผู้นำดนตรีแจ๊สมาเผยแพร่จนเป็นที่รู้จักในประเทศไทย ด้วยเหตุดังกล่าว จึงเป็นที่ประจักษ์แก่นานาชาติทั่วโลกว่าทางเป็นทั้งนักดนตรี นักวิชาการ และนักการศึกษาด้านดนตรี ตลอดจนผู้นำด้านวัฒนธรรม
คำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณในฐานะที่ทรงเป็นผู้นำด้านวัฒนธรรม เป็นเครื่องแสดงถึงการตระหนักในพระปรีชาสามารถทางด้านดนตรีอันโดดเด่นของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งมีอิทธิพลอย่างสำคัญยิ่งต่อคุณค่าทางวัฒนธรรมในนานาประเทศทั่วโลก


ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ



มหาวิทยาลัยเยล.jpg


มหาวิทยาลัยเยล2.jpg
นายโรเบิร์ต แอล. บล็อกเกอร์ คณบดีคณะการดนตรีแห่งมหาวิทยาลัยเยล สหรัฐอเมริกา

ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายประกาศนียบัตร และเหรียญแซนฟอร์ด สดุดีพระเกียรติคุณด้านการดนตรี
ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต เมื่อวันอังคาร ที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๔๓



Dot orange2.gif หน้าแรกประมวลคำสดุดีพระเกียรติคุณฯ Dot orange2.gif บัญชีปริญญาดุษฎีบัณฑิตฯ Dot orange2.gif บัญชีตำแหน่งสมาชิกกิตติมศักดิ์ฯ Dot orange2.gif บัญชีรางวัลฯ Dot orange2.gif พระราชกรณียกิจ