ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทศวรรษที่6"

(ส่วนที่ 4)
แถว 105: แถว 105:
 
Image:ทศ6-58.jpg|ศูนย์ศึกษาการพัฒนา ห้วยฮ่องไคร้ฯ
 
Image:ทศ6-58.jpg|ศูนย์ศึกษาการพัฒนา ห้วยฮ่องไคร้ฯ
 
Image:ทศ6-59.jpg|
 
Image:ทศ6-59.jpg|
Image:ทศ6-60.jpg|พุทธศักราช ๒๕๒๗<br />เสด็จฯ ไปทอดพระเนตร แบบจำลองโครงการอ่างเก็บน้ำ ห้วยหวด อำเภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร ซึ่งต่อมาได้ ดำเนินการก่อสร้างอ่างเก็บน้ำ ห้วยหวด สามารถเก็บกักน้ำได้ จำนวน ๑๗ ล้านลูกบาศก์เมตร และส่งน้ำช่วยเหลือพื้นที่การ เกษตรได้จำนวน ๑๒,๐๐๐ ไร่ ทำให้ ราษฎรชาวอีสานได้มีน้ำ สำหรับการอุปโภค-บริโภค และทำการเกษตรได้ตลอดปี
 
 
Image:ทศ6-61.jpg|พุทธศักราช ๒๕๒๗<br />วันที่ ๑๔ พฤศจิกายน เสด็จฯ ไปยังอ่างเก็บน้ำห้วยนกเค้า จังหวัดสกลนคร
 
Image:ทศ6-61.jpg|พุทธศักราช ๒๕๒๗<br />วันที่ ๑๔ พฤศจิกายน เสด็จฯ ไปยังอ่างเก็บน้ำห้วยนกเค้า จังหวัดสกลนคร
 
Image:ทศ6-62.jpg|พุทธศักราช ๒๕๒๗<br />วันที่ ๒๗ กันยายน ประทับเรือพายของราษฎร ทอดพระเนตรสภาพพื้นที่บริเวณหนองบัวกง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
 
Image:ทศ6-62.jpg|พุทธศักราช ๒๕๒๗<br />วันที่ ๒๗ กันยายน ประทับเรือพายของราษฎร ทอดพระเนตรสภาพพื้นที่บริเวณหนองบัวกง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
Image:ทศ6-63.jpg|พุทธศักราช ๒๕๒๘<br />วันที่ ๒๐ กันยายน ทรงดำเนิน ด้วยพระบาทเข้าไปในป่ายาง ท่ามกลางฝนตกหนักโดยมี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ตามเสด็จ
 
 
Image:ทศ6-64.jpg|พุทธศักราช ๒๕๒๘<br />๑๓ สิงหาคม เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรสภาพพื้นที่ ที่จะก่อสร้างอ่างเก็บน้ำห้วยเรือ จังหวัดสกลนคร
 
Image:ทศ6-64.jpg|พุทธศักราช ๒๕๒๘<br />๑๓ สิงหาคม เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรสภาพพื้นที่ ที่จะก่อสร้างอ่างเก็บน้ำห้วยเรือ จังหวัดสกลนคร
 
Image:ทศ6-65.jpg|
 
Image:ทศ6-65.jpg|

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:51, 14 มีนาคม 2551

ตราสัญลักษณ์80ปี.jpg


ทศวรรษที่๑
(พ.ศ.๒๔๗๐ - ๒๔๗๙)

ทศวรรษที่ ๒
(พ.ศ.๒๔๘๐ - ๒๔๘๙)

ทศวรรษที่ ๓
(พ.ศ.๒๔๙๐ - ๒๔๙๙)

ทศวรรษที่ ๔
(พ.ศ.๒๕๐๐ - ๒๕๐๙)

ทศวรรษที่ ๕
(พ.ศ.๒๕๑๐ - ๒๕๑๙)

ทศวรรษที่ ๖
(พ.ศ.๒๕๒๐ - ๒๕๒๙)

ทศวรรษที่ ๗
(พ.ศ.๒๕๓๐ - ๒๕๓๙)

ทศวรรษที่ ๘
(พ.ศ.๒๕๔๐ - ๒๕๕๐)

ทศวรรษที่ ๖ทรงค้นคว้ารูปแบบการบริหารจัดการแนวใหม่
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ : พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต (พ.ศ. ๒๕๒๐ - ๒๕๒๙)


...เป็นการสาธิตการพัฒนาเบ็ดเสร็จ หมายถึง ทุกสิ่ง ทุกอย่าง ทุกด้านของชีวิตประชาชนที่
จะหาเลี้ยงชีพในท้องที่จะทำอย่างไร และได้เห็นวิทยาการแผนใหม่ จะสามารถที่จะหาดูวิธีการ
ทำมาหากินให้มีประสิทธิภาพ...

...ด้านหนึ่งก็จะเป็นจุดประสงค์ของศูนย์ศึกษาก็เป็นสถานที่สำหรับค้นคว้า วิจัยในท้องที่
เพราะว่าแต่ละท้องที่ ฟ้า อากาศ และประชาชนในท้องที่ต่างๆ กันก็มีลักษณะแตกต่างกันมากเหมือนกัน...

พระราชดำรัส ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
เมื่อวันที่ ๑๑ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๒๖


สงครามกับตัวยึกยืที่เชิงคีรี : อ่างเก็บน้ำตำบลเชิงคีร
เสด็จพระราชดำเนินไปยัง ๓ เขตตำบล คือ เชิงคีรี มะยูง และรือเสาะ อำเภอศรีสาคร
จังหวัดนราธิวาส เพื่อที่จะพิจารณาพื้นที่ที่จะสร้างอ่างเก็บน้ำเพื่อไว้ใช้ให้กับราษฎรทั้ง ๓ เขต
ตำบล ในการเดินทางครั้งนี้ทรงเรียกการทรงงานวิบากที่เชิงคีรี ครั้งนี้ภายหลังว่า "สงครามกับ
ตัวยึกยือที่เชิงคีรี" เนื่องจากในการเดินทางครั้งนี้ ต้องทรงพระดำเนินด้วยพระบาทเข้าไปในป่า
ยาง ท่ามกลางฝนตกหนัก โดยมีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตามเสด็จ
เป็นระยะทางถึง ๒ กิโลเมตรเศษ


ส่วนที่ 1

ส่วนที่ 2


ส่วนที่ 3

ส่วนที่ 4




ข้อมูลจาก หนังสือ ประมวลภาพการทรงงาน "๘๐ พรรษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์"

จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ