ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยาเสพติด"

 
(ไม่แสดง 5 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
แถว 1: แถว 1:
 +
<div id="bg_g1t">&nbsp;</div>
 +
<div id="bg_g1">
 +
__NOTOC__
 
<h1>ปัญหายาเสพติด</h1>
 
<h1>ปัญหายาเสพติด</h1>
  
แถว 5: แถว 8:
 
[[ภาพ:ปัญหายาเสพติด.jpg|center|เสด็จพระราชดำเนินไปยังพื้นที่ปลูกฝิ่น]]
 
[[ภาพ:ปัญหายาเสพติด.jpg|center|เสด็จพระราชดำเนินไปยังพื้นที่ปลูกฝิ่น]]
  
<div class="kindent">ทรงตั้ง "โครงการหลวง" เพื่อแก้ปัญหาปลูกฝิ่นและการทำไร่เลื่อนลอยของชาวเขา ซึ่งมีพฤติกรรม "ถางและเผา" โดยส่งเสริมให้มีความเป็นอยู่ที่ดีและถาวร โดยการปลูกพืชผักและไม้ดอกเมืองหนาว</div>
+
<div class="kindent">ทรงตั้ง "[[โครงการหลวง]]" เพื่อแก้ปัญหาปลูกฝิ่นและการทำไร่เลื่อนลอยของชาวเขา ซึ่งมีพฤติกรรม "ถางและเผา" โดยส่งเสริมให้มีความเป็นอยู่ที่ดีและถาวร โดยการปลูกพืชผักและไม้ดอกเมืองหนาว</div>
  
  
แถว 16: แถว 19:
 
<div style="color:darkgreen">"... แต่ก่อนเขาปลูกฝิ่น เราไปพูดจาชี้แจงชักชวนให้เขามาปลูกกาแฟแทน กะเหรี่ยงไม่เคยปลูกาแฟมาก่อนเลย ยังดีที่กาแฟมิตายเสียหมดแต่ยังเหลืออยู่หนึ่งต้นนั้น ต้องถือว่าเป็นความก้าวหน้าสำหรับกะเหรี่ยง" และทรงแนะนำให้หาหนทางว่า "ทำอย่างไรกาแฟจึงจะเหลืออยู่มากกว่าหนึ่งต้น"</div>
 
<div style="color:darkgreen">"... แต่ก่อนเขาปลูกฝิ่น เราไปพูดจาชี้แจงชักชวนให้เขามาปลูกกาแฟแทน กะเหรี่ยงไม่เคยปลูกาแฟมาก่อนเลย ยังดีที่กาแฟมิตายเสียหมดแต่ยังเหลืออยู่หนึ่งต้นนั้น ต้องถือว่าเป็นความก้าวหน้าสำหรับกะเหรี่ยง" และทรงแนะนำให้หาหนทางว่า "ทำอย่างไรกาแฟจึงจะเหลืออยู่มากกว่าหนึ่งต้น"</div>
  
ต่อมามูลนิธิโครงการหลวงได้พัฒนาวิจัย และส่งเสริมการผลิตกาแฟอาราบิก้า โดยเมื่อปี ๒๕๔๘ มีพื้นที่ปลูก ๔,๓๐๐ ไร่ จำนวนต้นกาแฟ ๑.๗ ล้านต้น มีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ ๒.๑๑๗ ราย ผลิตกาแฟกะลาได้ ๔๑,๒๘๘ กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่ารายได้ ๒.๓ ล้านบาท</div>
+
ต่อมามูลนิธิโครงการหลวงได้พัฒนาวิจัย และส่งเสริมการผลิตกาแฟอาราบิก้า โดยเมื่อปี ๒๕๔๘ มีพื้นที่ปลูก ๔,๓๐๐ ไร่ จำนวนต้นกาแฟ ๑.๗ ล้านต้น มีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ ๒.๑๑๗ ราย ผลิตกาแฟกะลาได้ ๔๑,๒๘๘ กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่ารายได้ ๒.๓ ล้านบาท</div></div>
 
 
  
 +
<div style="clear:both"></div>
 
==='''ลูกท้อ...ทำเงิน'''===
 
==='''ลูกท้อ...ทำเงิน'''===
 
+
[[ภาพ:ลูกท้อ.jpg|150px|left|ลูกท้อผลผลิตสร้างรายได้]]<div class="kindent">หม่อมเจ้าภีศเดชรัชนี องค์ประธานมูลนิธิ[[โครงการหลวง]]ได้เคยทรงบันทึกเรื่องลูกท้อไว้ในหนังสือ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและโครงการหลวง ความตอนหนึ่งว่า
[[ภาพ:ลูกท้อ.jpg|150px|left|ลูกท้อผลผลิตสร้างรายได้]]<div class="kindent">หม่อมเจ้าภีศเดชรัชนี องค์ประธานมูลนิธิโครงการหลวงได้เคยทรงบันทึกเรื่องลูกท้อไว้ในหนังสือ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและโครงการหลวง ความตอนหนึ่งว่า
 
 
<div class="kgreen">"พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงขับรถพระที่นั่งไปบ้านแม้วดอยปุยใกล้พระตำหนักภูพิงค์ราชนิวเวศน์ และได้ทอดพระเนตรต้นท้อ (Peach) ที่แม้วเอากิ่งพันธุ์ดีมาต่อกับต้นตอเพื้นเมืองตามโครงการแต่ปีก่อน และมีรับสั่งถามเจ้าของว่าปลูกฝิ่นได้เงินเท่าไร และเก็บท้อพื้นเมือง(ลูกเล็ก) ขายได้กี่บาท ก็ทรงพบว่าฝิ่นกับท้อพื้นเมืองทำเงินให้เกษตรกรเท่าๆ กัน..."
 
<div class="kgreen">"พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงขับรถพระที่นั่งไปบ้านแม้วดอยปุยใกล้พระตำหนักภูพิงค์ราชนิวเวศน์ และได้ทอดพระเนตรต้นท้อ (Peach) ที่แม้วเอากิ่งพันธุ์ดีมาต่อกับต้นตอเพื้นเมืองตามโครงการแต่ปีก่อน และมีรับสั่งถามเจ้าของว่าปลูกฝิ่นได้เงินเท่าไร และเก็บท้อพื้นเมือง(ลูกเล็ก) ขายได้กี่บาท ก็ทรงพบว่าฝิ่นกับท้อพื้นเมืองทำเงินให้เกษตรกรเท่าๆ กัน..."
  
แถว 29: แถว 31:
 
จากการดำเนินงานพัฒนาชาวเขามากกว่า ๓๘ ปี ปัจจุบันพื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยดอกฝิ่น จึงกลายเป็นผืนดินที่สร้างมูลค่าผลผลิตเกษตรอย่างมากมาย เป็นแหล่งผลิตผลไม้ พืชผักเมืองหนาวหลายชนิด พืชที่สำคัญของประเทศได้แก่บ๊วย พลัม พีช สาลี่ สตรอเบอรี่ อะโวกาโด และเสาวรส
 
จากการดำเนินงานพัฒนาชาวเขามากกว่า ๓๘ ปี ปัจจุบันพื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยดอกฝิ่น จึงกลายเป็นผืนดินที่สร้างมูลค่าผลผลิตเกษตรอย่างมากมาย เป็นแหล่งผลิตผลไม้ พืชผักเมืองหนาวหลายชนิด พืชที่สำคัญของประเทศได้แก่บ๊วย พลัม พีช สาลี่ สตรอเบอรี่ อะโวกาโด และเสาวรส
  
ตามข้อมูลในรายงานด้านการพัฒนา มูลนิธิโครงการหลวง ประจำปีงบประมาณ ๒๕๔๘ ระบุว่ามีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ ๒,๔๙๔ ราย พื้นที่ปลูก ๑๘,๙๓๔ ไร่ ได้ผลผลิตรวม ๔๖๐,๕๗๐ กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่ารายได้ ๙.๘ ล้านบาท ช่วยให้คนไทยไม่ต้องสูญเสียเงินเพื่อการนำเข้าผัก ผลไม้จากต่างประเทศ ในทางตรงกันข้ามกลับสามารถผลิตไว้บริโภคตามฤดูกาลได้เอง เป็นการสร้างรายได้ให้แก่ชาวเขา ทำให้เกษตรกรภาคเหนือมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น</div>
+
ตามข้อมูลในรายงานด้านการพัฒนา มูลนิธิ[[โครงการหลวง]] ประจำปีงบประมาณ ๒๕๔๘ ระบุว่ามีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ ๒,๔๙๔ ราย พื้นที่ปลูก ๑๘,๙๓๔ ไร่ ได้ผลผลิตรวม ๔๖๐,๕๗๐ กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่ารายได้ ๙.๘ ล้านบาท ช่วยให้คนไทยไม่ต้องสูญเสียเงินเพื่อการนำเข้าผัก ผลไม้จากต่างประเทศ ในทางตรงกันข้ามกลับสามารถผลิตไว้บริโภคตามฤดูกาลได้เอง เป็นการสร้างรายได้ให้แก่ชาวเขา ทำให้เกษตรกรภาคเหนือมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น</div>
  
  
แถว 41: แถว 43:
  
  
 +
----
 +
<nowiki>**</nowiki>{{แม่แบบ:สำนักงาน กปร.}}
  
  
  
 +
{{ดูเพิ่มเติม|[[โครงการหลวง]]}}
 +
</div>
  
 
----
 
<nowiki>**</nowiki>{{แม่แบบ:สำนักงาน กปร.}}
 
  
  
 
[[หมวดหมู่:พระราชกรณียกิจ]]
 
[[หมวดหมู่:พระราชกรณียกิจ]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:12, 11 พฤศจิกายน 2551

 

ปัญหายาเสพติด

พุทธศักราช ๒๕๑๒ : "ช่วยชาวเขา ช่วยชาวเรา ช่วยชาวโลก"

เสด็จพระราชดำเนินไปยังพื้นที่ปลูกฝิ่น
ทรงตั้ง "โครงการหลวง" เพื่อแก้ปัญหาปลูกฝิ่นและการทำไร่เลื่อนลอยของชาวเขา ซึ่งมีพฤติกรรม "ถางและเผา" โดยส่งเสริมให้มีความเป็นอยู่ที่ดีและถาวร โดยการปลูกพืชผักและไม้ดอกเมืองหนาว


พืชทดแทนฝิ่น

ในการเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมพื้นที่ต่างๆ ของภาคเหนือ ซึ่งมีภูมิประเทศเป็นภูเขาสูง มีพื้นที่ทำกินน้อยชาวเขาเร่ร่อนกลางป่าเพื่อทำไร่เลื่อนลอย เคลื่อนย้ายไปตามที่ต่างๆ โดยเฉพาะชาวเขาบางกลุ่มนิยมปลูกฝิ่นเพื่อการค้า ซึ่งในสมัยก่อนการค้าฝิ่นยังไม่มีกฎหมายห้ามการผลิตและจำหน่าย ประกอบกับการลักลอบแปรสภาพฝิ่นเป็นยาเสพติดร้ายแรงเพื่อมอมเมาเยาวชนของชาติ ทำให้การปลูกฝิ่นเป็นอาชีพที่ทำรายได้อย่างมาก ด้วยพระราชหฤทัยที่ทรงห่วงใยว่าการปลูกฝิ่นจะเป็นปัญหาร้ายแรงของประเทศและของโลก จึงทรงริเริ่มดำเนินงานโครงการหลวง เพื่อพัฒนาชาวเขาตั้งแต่ปี ๒๕๑๒ ทรงให้ความสำคัญกับงานค้นคว้าวิจัยพืชเมืองหนาวทดแทนฝิ่นก่อให้เกิดสถานีทดลองเกษตรหลวง ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงขึ้นหลายแห่งกระจายอยู่ในพื้นที่ ๕ จังหวัด คือ เชียงใหม่ เชียงราย ลำพูน แม่ฮ่องสอน และพะเยา


กาแฟ

ชาวเขากำลังเก็บเกี่ยวกาแฟ
พืชที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงนำมาปลูกทดแทนฝิ่นมีหลายชนิด หนึ่งในจำนวนนั้นคือ กาแฟ ดังพระราชดำรัสที่ได้พระราชทานไว้ เมื่อวันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๑๗ ความตอนหนึ่งว่า
"... แต่ก่อนเขาปลูกฝิ่น เราไปพูดจาชี้แจงชักชวนให้เขามาปลูกกาแฟแทน กะเหรี่ยงไม่เคยปลูกาแฟมาก่อนเลย ยังดีที่กาแฟมิตายเสียหมดแต่ยังเหลืออยู่หนึ่งต้นนั้น ต้องถือว่าเป็นความก้าวหน้าสำหรับกะเหรี่ยง" และทรงแนะนำให้หาหนทางว่า "ทำอย่างไรกาแฟจึงจะเหลืออยู่มากกว่าหนึ่งต้น"
ต่อมามูลนิธิโครงการหลวงได้พัฒนาวิจัย และส่งเสริมการผลิตกาแฟอาราบิก้า โดยเมื่อปี ๒๕๔๘ มีพื้นที่ปลูก ๔,๓๐๐ ไร่ จำนวนต้นกาแฟ ๑.๗ ล้านต้น มีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ ๒.๑๑๗ ราย ผลิตกาแฟกะลาได้ ๔๑,๒๘๘ กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่ารายได้ ๒.๓ ล้านบาท

ลูกท้อ...ทำเงิน

ลูกท้อผลผลิตสร้างรายได้
หม่อมเจ้าภีศเดชรัชนี องค์ประธานมูลนิธิโครงการหลวงได้เคยทรงบันทึกเรื่องลูกท้อไว้ในหนังสือ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและโครงการหลวง ความตอนหนึ่งว่า
"พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงขับรถพระที่นั่งไปบ้านแม้วดอยปุยใกล้พระตำหนักภูพิงค์ราชนิวเวศน์ และได้ทอดพระเนตรต้นท้อ (Peach) ที่แม้วเอากิ่งพันธุ์ดีมาต่อกับต้นตอเพื้นเมืองตามโครงการแต่ปีก่อน และมีรับสั่งถามเจ้าของว่าปลูกฝิ่นได้เงินเท่าไร และเก็บท้อพื้นเมือง(ลูกเล็ก) ขายได้กี่บาท ก็ทรงพบว่าฝิ่นกับท้อพื้นเมืองทำเงินให้เกษตรกรเท่าๆ กัน..." "ถ้าท้อลูกนิดๆ ยังทำเงินให้เกษตรกรได้ดีเท่าฝิ่นแล้ว เราก็ควรจะเปลี่ยนยอดให้ออกลูกมาเป็นท้อใหญ่ๆ หวานฉ่ำ สีชมพูเรื่อดังกับแก้วสาวในนิทานจีน เมื่อรายได้จากท้อและผลไม้อื่นสูงกว่าฝิ่นแล้ว ฝิ่นก็จะสาบสูญไปเองตามธรรมชาติ ไม่ต้องใช้กำลังผลักดันแต่อย่างไร"

จากการดำเนินงานพัฒนาชาวเขามากกว่า ๓๘ ปี ปัจจุบันพื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยดอกฝิ่น จึงกลายเป็นผืนดินที่สร้างมูลค่าผลผลิตเกษตรอย่างมากมาย เป็นแหล่งผลิตผลไม้ พืชผักเมืองหนาวหลายชนิด พืชที่สำคัญของประเทศได้แก่บ๊วย พลัม พีช สาลี่ สตรอเบอรี่ อะโวกาโด และเสาวรส

ตามข้อมูลในรายงานด้านการพัฒนา มูลนิธิโครงการหลวง ประจำปีงบประมาณ ๒๕๔๘ ระบุว่ามีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ ๒,๔๙๔ ราย พื้นที่ปลูก ๑๘,๙๓๔ ไร่ ได้ผลผลิตรวม ๔๖๐,๕๗๐ กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่ารายได้ ๙.๘ ล้านบาท ช่วยให้คนไทยไม่ต้องสูญเสียเงินเพื่อการนำเข้าผัก ผลไม้จากต่างประเทศ ในทางตรงกันข้ามกลับสามารถผลิตไว้บริโภคตามฤดูกาลได้เอง เป็นการสร้างรายได้ให้แก่ชาวเขา ทำให้เกษตรกรภาคเหนือมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น






**ข้อมูลจาก หนังสือ ๘๐ ทศวรรษแห่งการพัฒนา จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ


ดูเพิ่มเติม โครงการหลวง