ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทรงชนะเลิศการแข่งขันเรือใบในกีฬาแหลมทอง"

แถว 12: แถว 12:
  
 
“เรือใบซูเปอร์มด” เป็นเรือใบมดที่ทรงปรับปรุงแบบใหม่ ทรงออกแบบตัวเรือยาว 11 ฟุตเท่าเรือมด แต่ความกว้างเพิ่มขึ้น คือกว้าง 4 ฟุต 11 นิ้ว ท้องแบน น้ำหนักประมาณ 34 กิโลกรัม เนื้อที่ใบโตเท่าเดิม การทรงตัวดี ความเร็วมีมากขึ้น ตัวเรือคงทนแข็งแรง สู้คลื่นลมได้ดี และมีความปลอดภัยสูง เรือใบซูเปอร์มดนี้ใช้แข่งขันกีฬานานาชาติเป็นครั้งแรกในกีฬาแหลมทองครั้งที่ 4 ณ ประเทศไทย เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ.2510  
 
“เรือใบซูเปอร์มด” เป็นเรือใบมดที่ทรงปรับปรุงแบบใหม่ ทรงออกแบบตัวเรือยาว 11 ฟุตเท่าเรือมด แต่ความกว้างเพิ่มขึ้น คือกว้าง 4 ฟุต 11 นิ้ว ท้องแบน น้ำหนักประมาณ 34 กิโลกรัม เนื้อที่ใบโตเท่าเดิม การทรงตัวดี ความเร็วมีมากขึ้น ตัวเรือคงทนแข็งแรง สู้คลื่นลมได้ดี และมีความปลอดภัยสูง เรือใบซูเปอร์มดนี้ใช้แข่งขันกีฬานานาชาติเป็นครั้งแรกในกีฬาแหลมทองครั้งที่ 4 ณ ประเทศไทย เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ.2510  
 
 
ในโอกาสที่ประเทศไทยได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาแหลมทอง ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 9-16 ธันวาคม 2510 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสมัครเข้ารับการคัดเลือกเป็นนักกีฬาทีมชาติไทย ในกีฬาเรือใบอย่างถูกต้องตามขั้นตอนเช่นเดียวกับนักกีฬาคนอื่นทั่วไป และด้วยพระปรีชาสามารถทรงได้รับการคัดเลือกเป็นนักกีฬาเรือใบทีมชาติไทย ฉลองพระองค์ชุดวอร์มและเบลเซอร์ และทรงได้รับเบี้ยเลี้ยงในฐานะนักกีฬา ทรงเข้าค่ายฝึกซ้อมตามโปรแกรมการฝึกซ้อมเช่นเดียวกับนักกีฬาคนอื่นๆ พระองค์ทรงชนะเลิศการแข่งขันเรือใบประเภทโอเค และทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายเหรียญรางวัลเหรียญทองจากสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2510 ซึ่งเป็นวันพิธีฯปิดการแข่งขันกีฬาแหลมทอง ครั้งที่ 4 ณ สนามศุภชลาศัย สนามกีฬากรีฑาสถาน ท่ามกลางความปลื้มปีติของพสกนิกรปวงชนชาวไทยทั่วประเทศและเป็นที่ประจักษ์แก่ชนทั่วโลก
 
 
</div>
 
</div>
 
<div style="display:table; border: 1px solid #8B9946; width:30%; padding:5px 3px; float:right">
 
<div style="display:table; border: 1px solid #8B9946; width:30%; padding:5px 3px; float:right">
 
[[ภาพ:การกีฬา2.jpg|150px|ทรงประดิษฐ์ด้วยความละเอียดถี่ถ้วน|center]]<br>พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงประดิษฐ์เรือใบ อย่างถูกต้องตามหลักการสากล โดยทรงศึกษาแบบแปลนข้อบังคับ ของเรือแต่ละประเภทจากตำราต่าง ๆ ทั่วโลก ทรงประดิษฐ์ด้วยความละเอียดถี่ถ้วน ชนิดที่เรียกว่า “วัดเป็นมิลลิเมตร”
 
[[ภาพ:การกีฬา2.jpg|150px|ทรงประดิษฐ์ด้วยความละเอียดถี่ถ้วน|center]]<br>พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงประดิษฐ์เรือใบ อย่างถูกต้องตามหลักการสากล โดยทรงศึกษาแบบแปลนข้อบังคับ ของเรือแต่ละประเภทจากตำราต่าง ๆ ทั่วโลก ทรงประดิษฐ์ด้วยความละเอียดถี่ถ้วน ชนิดที่เรียกว่า “วัดเป็นมิลลิเมตร”
 
 
</div>
 
</div>
 
 
</div>
 
</div>
 
+
<div style="clear:both">ในโอกาสที่ประเทศไทยได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาแหลมทอง ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 9-16 ธันวาคม 2510 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสมัครเข้ารับการคัดเลือกเป็นนักกีฬาทีมชาติไทย ในกีฬาเรือใบอย่างถูกต้องตามขั้นตอนเช่นเดียวกับนักกีฬาคนอื่นทั่วไป และด้วยพระปรีชาสามารถทรงได้รับการคัดเลือกเป็นนักกีฬาเรือใบทีมชาติไทย ฉลองพระองค์ชุดวอร์มและเบลเซอร์ และทรงได้รับเบี้ยเลี้ยงในฐานะนักกีฬา ทรงเข้าค่ายฝึกซ้อมตามโปรแกรมการฝึกซ้อมเช่นเดียวกับนักกีฬาคนอื่นๆ พระองค์ทรงชนะเลิศการแข่งขันเรือใบประเภทโอเค และทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายเหรียญรางวัลเหรียญทองจากสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2510 ซึ่งเป็นวันพิธีฯปิดการแข่งขันกีฬาแหลมทอง ครั้งที่ 4 ณ สนามศุภชลาศัย สนามกีฬากรีฑาสถาน ท่ามกลางความปลื้มปีติของพสกนิกรปวงชนชาวไทยทั่วประเทศและเป็นที่ประจักษ์แก่ชนทั่วโลก</div>
<div style="clear:both"></div>
 
 
==='''ทรงต่อเรื่อประเภท "มด"'''===
 
==='''ทรงต่อเรื่อประเภท "มด"'''===
  

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:24, 5 ตุลาคม 2552

 

พุทธศักราช ๒๕๑๐ : ทรงชนะเลิศการแข่งขันเรือใบในกีฬาแหลมทอง

ทรงเป็นตัวแทนประเทศไทยลงแข่งขันเรือใบในกีฬาแหลมทองครั้งที่ ๔ ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ พระองค์ทรงชนะเสิศเหรียญทองการแข่งขันเรือใบประเภทโอเค โดยใช้ "เรือใบซุปเปอร์มด" ลงแข่งขัน

รับการทูลเกล้าฯ ถวายเหรียญรางวัลเหรียญทองจากสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ


“เรือใบซูเปอร์มด” เป็นเรือใบมดที่ทรงปรับปรุงแบบใหม่ ทรงออกแบบตัวเรือยาว 11 ฟุตเท่าเรือมด แต่ความกว้างเพิ่มขึ้น คือกว้าง 4 ฟุต 11 นิ้ว ท้องแบน น้ำหนักประมาณ 34 กิโลกรัม เนื้อที่ใบโตเท่าเดิม การทรงตัวดี ความเร็วมีมากขึ้น ตัวเรือคงทนแข็งแรง สู้คลื่นลมได้ดี และมีความปลอดภัยสูง เรือใบซูเปอร์มดนี้ใช้แข่งขันกีฬานานาชาติเป็นครั้งแรกในกีฬาแหลมทองครั้งที่ 4 ณ ประเทศไทย เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ.2510

ทรงประดิษฐ์ด้วยความละเอียดถี่ถ้วน

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงประดิษฐ์เรือใบ อย่างถูกต้องตามหลักการสากล โดยทรงศึกษาแบบแปลนข้อบังคับ ของเรือแต่ละประเภทจากตำราต่าง ๆ ทั่วโลก ทรงประดิษฐ์ด้วยความละเอียดถี่ถ้วน ชนิดที่เรียกว่า “วัดเป็นมิลลิเมตร”
ในโอกาสที่ประเทศไทยได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาแหลมทอง ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 9-16 ธันวาคม 2510 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสมัครเข้ารับการคัดเลือกเป็นนักกีฬาทีมชาติไทย ในกีฬาเรือใบอย่างถูกต้องตามขั้นตอนเช่นเดียวกับนักกีฬาคนอื่นทั่วไป และด้วยพระปรีชาสามารถทรงได้รับการคัดเลือกเป็นนักกีฬาเรือใบทีมชาติไทย ฉลองพระองค์ชุดวอร์มและเบลเซอร์ และทรงได้รับเบี้ยเลี้ยงในฐานะนักกีฬา ทรงเข้าค่ายฝึกซ้อมตามโปรแกรมการฝึกซ้อมเช่นเดียวกับนักกีฬาคนอื่นๆ พระองค์ทรงชนะเลิศการแข่งขันเรือใบประเภทโอเค และทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายเหรียญรางวัลเหรียญทองจากสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2510 ซึ่งเป็นวันพิธีฯปิดการแข่งขันกีฬาแหลมทอง ครั้งที่ 4 ณ สนามศุภชลาศัย สนามกีฬากรีฑาสถาน ท่ามกลางความปลื้มปีติของพสกนิกรปวงชนชาวไทยทั่วประเทศและเป็นที่ประจักษ์แก่ชนทั่วโลก

ทรงต่อเรื่อประเภท "มด"

ทรงต่อเรือประเภท มด(Moth Class) ๓ ลำ ลำแรกพระราชทานชื่อว่า มด ลำที่สองชื่อ ซุปเปอร์มด และลำที่สามชื่อ ไมโครมด และได้ทรงจดทะเบียนระดับนานาชาติในประเภท Moth Class ที่ประเทศอังกฤษ


เรือใบฝีพระหัตถ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จำแนกตามประเภท

ประเภทเรือใบ พุทธศักราชที่ทรงประดิษฐ์ หมายเหตุ
เรือใบประเภทเอนเตอร์ไพรส์
(International Enterprise Class)
พุทธศักราช ๒๕๐๗ ทรงต่อเรือใบ “ราชปะแตน”เมื่อวันที่ ๗ ธันวาคมต่อมาได้ทรงสร้างเรือเพิ่มขึ้นอีก ๑ ลำพระราชทานนามว่า “เรือเอจี”
เรือใบประเภทโอเค
(International OK Class)
พุทธศักราช ๒๕๐๘ เรือใบโอเคลำแรกพระราชทานนามว่า “นวฤกษ์” ลำต่อๆ มา ได้พระราชทานนามว่า “เรือเวคา ๑” “เรือเวคา ๒” และ “เรือเวคา ๓” เป็นต้น
เรือใบประเภทม็อธ
(International Moth Class)
พุทธศักราช ๒๕๐๙ - ๒๕๑๐๗ พระราชทานนามเรือใบสกุลใหม่ว่า“เรือมด เรือซูเปอร์มด และเรือไมโครมด” โดยทรงใช้ผงไฟเบอร์ยามที่ทรงต่อเรือเมื่อโดนแล้วทำให้ทรงคัน จึงพระราชทานนามว่า “มด”

ที่มา: หออัครศิลปิน สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ


**ข้อมูลจาก หนังสือ ๘๐ ทศวรรษแห่งการพัฒนา จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ