ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การแพทย์"

แถว 4: แถว 4:
 
<div style="width:100%; display:table">
 
<div style="width:100%; display:table">
 
<div style="float:left">[[ภาพ:หน่วยแพทย์เคลื่อนที่.jpg]]<br /><br />[[ภาพ:หน่วยแพทย์เคลื่อนที่2.jpg]]<br /><br /><br /><br />[[ภาพ:หน่วยแพทย์เคลื่อนที่3.jpg]]</div>
 
<div style="float:left">[[ภาพ:หน่วยแพทย์เคลื่อนที่.jpg]]<br /><br />[[ภาพ:หน่วยแพทย์เคลื่อนที่2.jpg]]<br /><br /><br /><br />[[ภาพ:หน่วยแพทย์เคลื่อนที่3.jpg]]</div>
<div style="float:left; padding-left:10px">เมื่อปี ๒๔๙๖ ขณะที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรที่บ้านปากทวาร ตำบลหินเหล็กไฟ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ <br />ทรงพบว่าราษฎรที่มาเข้าเฝ้าฯ เป็นไข้จับสั่นและโรคอื่นๆ เป็นจำนวนมาก จึงมีพระราชปรารภว่าในท้องที่ห่างไกลที่แพทย์และพยาบาลเข้าไปไม่ถึงนั้น ราษฎรต้องถูก<br />โรคภัยไข้เจ็บเบียดเบียน ทั้งๆ ที่โรคที่เป็นสามารถรักษาให้หายได้ไม่ยาก ดังนั้นจึงพระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์รวมทั้งอุปกรณ์ทางการแพทย์ ยานพาหนะและเวชภัณฑ์<br /> ให้แก่กระทรวงสาธารณสุข เพื่อจัดตั้งหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ไปรักษาประชาชนในท้องถิ่นธุรกันดาร เริ่มจากจังหวัดเพชรบุรีและจังหวัดประจวบคีรีขันธ์เรียกชื่อว่า <br />'''"หน่วยแพทย์เคลื่อนที่พระราชทาน"''' ต่อมาเมื่อปี ๒๔๙๙ ให้จัดตั้งขึ้นอีก ๒ แห่ง คือ ที่จังหวัดขอนแก่น เพื่อดูแลรักษาผู้เจ็บป่วยในพื้นที่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br /> และพื้นที่จังหวัดยะลาเพื่อดูแลรักษาผู้เจ็บป่วยในพื้นที่ทางภาคใต้
+
<div style="float:left; padding-left:10px">เมื่อปี ๒๔๙๖ ขณะที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรที่บ้านปากทวาร ตำบลหินเหล็กไฟ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ทรงพบว่าราษฎรที่มาเข้าเฝ้าฯ เป็นไข้จับสั่นและโรคอื่นๆ เป็นจำนวนมาก จึงมีพระราชปรารภว่าในท้องที่ห่างไกลที่แพทย์และพยาบาลเข้าไปไม่ถึงนั้น ราษฎรต้องถูกโรคภัยไข้เจ็บเบียดเบียน ทั้งๆ ที่โรคที่เป็นสามารถรักษาให้หายได้ไม่ยาก ดังนั้นจึงพระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์รวมทั้งอุปกรณ์ทางการแพทย์ ยานพาหนะและเวชภัณฑ์ ให้แก่กระทรวงสาธารณสุข เพื่อจัดตั้งหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ไปรักษาประชาชนในท้องถิ่นธุรกันดาร เริ่มจากจังหวัดเพชรบุรีและจังหวัดประจวบคีรีขันธ์เรียกชื่อว่า '''"หน่วยแพทย์เคลื่อนที่พระราชทาน"''' ต่อมาเมื่อปี ๒๔๙๙ ให้จัดตั้งขึ้นอีก ๒ แห่ง คือ ที่จังหวัดขอนแก่น เพื่อดูแลรักษาผู้เจ็บป่วยในพื้นที่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และพื้นที่จังหวัดยะลาเพื่อดูแลรักษาผู้เจ็บป่วยในพื้นที่ทางภาคใต้
  
  
  
<br /><br /><br /> '''"เรือเวชพาหน์" หน่วยแพท์ทางน้ำ'''<br />เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ให้ต่อเรือขึ้นลำหนึ่งทำด้วยไม้สักสองชั้น ภายในลำเรือแบ่งพื้นที่เป็น<br />ห้องตรวจรักษาโรคต่างๆ พร้อมอุปกรณ์และเครื่องมือทางการแพทย์ เครื่องมือทันตกรรม และเวชภัณฑ์ครบครัน และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งโครงการ<br />แพทย์หลวงพระราชทาน "เรือเวชพาหน์" ขึ้น เพื่อออกให้บริการแก่ประชาชนที่ตั้งบ้านเรือนอยู่ริมน้ำ ซึ่งการเดินทางโดยรถยนต์ไม่สามารถเข้าถึงได้  
+
<br /><br /><br /> '''"เรือเวชพาหน์" หน่วยแพท์ทางน้ำ'''<br />เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ให้ต่อเรือขึ้นลำหนึ่งทำด้วยไม้สักสองชั้น ภายในลำเรือแบ่งพื้นที่เป็นห้องตรวจรักษาโรคต่างๆ พร้อมอุปกรณ์และเครื่องมือทางการแพทย์ เครื่องมือทันตกรรม และเวชภัณฑ์ครบครัน และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งโครงการแพทย์หลวงพระราชทาน "เรือเวชพาหน์" ขึ้น เพื่อออกให้บริการแก่ประชาชนที่ตั้งบ้านเรือนอยู่ริมน้ำ ซึ่งการเดินทางโดยรถยนต์ไม่สามารถเข้าถึงได้  
 
<br />
 
<br />
  
แถว 16: แถว 16:
  
  
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงให้ความสำคัญกับการสาธารณสุขในระยะยาวด้วย โดยทรงสนับสนุนด้านการศึกษาค้นคว้าและการวิจัย ทั้งทรงให้ความสำคัญกับ<br />บุคลากรด้านสาธารณสุข และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้ง "ทุนอานันทมหิดล" ขึ้นเมื่อปี ๒๔๙๘
+
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงให้ความสำคัญกับการสาธารณสุขในระยะยาวด้วย โดยทรงสนับสนุนด้านการศึกษาค้นคว้าและการวิจัย ทั้งทรงให้ความสำคัญกับบุคลากรด้านสาธารณสุข และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้ง "ทุนอานันทมหิดล" ขึ้นเมื่อปี ๒๔๙๘
  
ซึ่งภายหลังได้เปลี่ยนเป็นมูลนิธิอานันทมหิดล เพื่อการพิจารณาคัดเลือกบัณฑิตแพทย์ที่มีผลการเรียนยอดเยี่ยมและมีคุณธรรมไปศึกษาต่อระดับปริญญาเอกในต่างประเทศ <br />ปัจจุบันมูลนิธิอานันทมหิดลได้ขยายการให้การสนับสนุนการศึกษาในระดับสูงครอบคลุม ๘ สาขาวิชา ในจำนวนดังกล่าวเกี่ยวข้องกับการสาธารณสุข ๒ สาขา คือ <br />แผนกแพทยศาสตร์ และแผนกทันตแพทยศาสตร์
+
ซึ่งภายหลังได้เปลี่ยนเป็นมูลนิธิอานันทมหิดล เพื่อการพิจารณาคัดเลือกบัณฑิตแพทย์ที่มีผลการเรียนยอดเยี่ยมและมีคุณธรรมไปศึกษาต่อระดับปริญญาเอกในต่างประเทศ ปัจจุบันมูลนิธิอานันทมหิดลได้ขยายการให้การสนับสนุนการศึกษาในระดับสูงครอบคลุม ๘ สาขาวิชา ในจำนวนดังกล่าวเกี่ยวข้องกับการสาธารณสุข ๒ สาขา คือ แผนกแพทยศาสตร์ และแผนกทันตแพทยศาสตร์
  
  

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:59, 12 กุมภาพันธ์ 2551

พุทธศักราช ๒๔๙๖ : หน่วยแพทย์เคลื่อนที่หน่วยแรก


หน่วยแพทย์เคลื่อนที่.jpg

หน่วยแพทย์เคลื่อนที่2.jpg



หน่วยแพทย์เคลื่อนที่3.jpg
เมื่อปี ๒๔๙๖ ขณะที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรที่บ้านปากทวาร ตำบลหินเหล็กไฟ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ทรงพบว่าราษฎรที่มาเข้าเฝ้าฯ เป็นไข้จับสั่นและโรคอื่นๆ เป็นจำนวนมาก จึงมีพระราชปรารภว่าในท้องที่ห่างไกลที่แพทย์และพยาบาลเข้าไปไม่ถึงนั้น ราษฎรต้องถูกโรคภัยไข้เจ็บเบียดเบียน ทั้งๆ ที่โรคที่เป็นสามารถรักษาให้หายได้ไม่ยาก ดังนั้นจึงพระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์รวมทั้งอุปกรณ์ทางการแพทย์ ยานพาหนะและเวชภัณฑ์ ให้แก่กระทรวงสาธารณสุข เพื่อจัดตั้งหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ไปรักษาประชาชนในท้องถิ่นธุรกันดาร เริ่มจากจังหวัดเพชรบุรีและจังหวัดประจวบคีรีขันธ์เรียกชื่อว่า "หน่วยแพทย์เคลื่อนที่พระราชทาน" ต่อมาเมื่อปี ๒๔๙๙ ให้จัดตั้งขึ้นอีก ๒ แห่ง คือ ที่จังหวัดขอนแก่น เพื่อดูแลรักษาผู้เจ็บป่วยในพื้นที่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และพื้นที่จังหวัดยะลาเพื่อดูแลรักษาผู้เจ็บป่วยในพื้นที่ทางภาคใต้





"เรือเวชพาหน์" หน่วยแพท์ทางน้ำ
เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ให้ต่อเรือขึ้นลำหนึ่งทำด้วยไม้สักสองชั้น ภายในลำเรือแบ่งพื้นที่เป็นห้องตรวจรักษาโรคต่างๆ พร้อมอุปกรณ์และเครื่องมือทางการแพทย์ เครื่องมือทันตกรรม และเวชภัณฑ์ครบครัน และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งโครงการแพทย์หลวงพระราชทาน "เรือเวชพาหน์" ขึ้น เพื่อออกให้บริการแก่ประชาชนที่ตั้งบ้านเรือนอยู่ริมน้ำ ซึ่งการเดินทางโดยรถยนต์ไม่สามารถเข้าถึงได้


นับเป็นเรือบรรเทาทุกข์และรักษาพยาบาลทางน้ำลำแรกและลำเดียวในโลก ที่ยังคงให้บริการประชาชนอยู่จนถึงทุกวันนี้


พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงให้ความสำคัญกับการสาธารณสุขในระยะยาวด้วย โดยทรงสนับสนุนด้านการศึกษาค้นคว้าและการวิจัย ทั้งทรงให้ความสำคัญกับบุคลากรด้านสาธารณสุข และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้ง "ทุนอานันทมหิดล" ขึ้นเมื่อปี ๒๔๙๘

ซึ่งภายหลังได้เปลี่ยนเป็นมูลนิธิอานันทมหิดล เพื่อการพิจารณาคัดเลือกบัณฑิตแพทย์ที่มีผลการเรียนยอดเยี่ยมและมีคุณธรรมไปศึกษาต่อระดับปริญญาเอกในต่างประเทศ ปัจจุบันมูลนิธิอานันทมหิดลได้ขยายการให้การสนับสนุนการศึกษาในระดับสูงครอบคลุม ๘ สาขาวิชา ในจำนวนดังกล่าวเกี่ยวข้องกับการสาธารณสุข ๒ สาขา คือ แผนกแพทยศาสตร์ และแผนกทันตแพทยศาสตร์


ผู้มีจิตศรัทธาบริจาคสมทบทุนโดยเสด็จพระราชกุศลได้เป็นรายบุคคลหรือเป็นคณะ

โดยเสด็จพระราชกุศล สมทบทุนมูลนิธิอานันทมหิดล ได้ที่สำนักงานพระคลังข้างที่ ในพระบรมมหาราชวัง

โทรศัพท์ 222-0859, 224-3288 โทรสาร 226-2909, 224-9858

รายละเอียดเกี่ยวกับการพระราชทานทุน และการดำเนินงานของมูลนิธิฯ สอบถามได้ที่

สำนักงานประสานงานของมูลนิธิอานันทมหิดล ตั้งอยู่ที่ สำนักงานเลขาธิการองคมนตรี ศาลาลูกขุนใน พระบรมมหาราชวัง

โทรศัพท์ 623-5833-4 โทรสาร 623-5835



มูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล - http://www.princemahidolaward.org/about.th.php




**ข้อมูลจาก หนังสือ ๘๐ พรรษา ปวงประชาสุขศานต์ จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ