ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การสื่อสาร"
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) |
Haiiwiki (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
แถว 1: | แถว 1: | ||
<div id="bg_g8"> | <div id="bg_g8"> | ||
+ | <div id="bg_g2b"> | ||
<center><h1>'''การสื่อสาร'''</h1></center> | <center><h1>'''การสื่อสาร'''</h1></center> | ||
แถว 40: | แถว 41: | ||
[[หมวดหมู่:พระราชกรณียกิจ]][[หมวดหมู่:วิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์]] | [[หมวดหมู่:พระราชกรณียกิจ]][[หมวดหมู่:วิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์]] | ||
+ | </div> | ||
</div> | </div> |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:27, 6 พฤศจิกายน 2551
การสื่อสาร
พุทธศักราช ๒๔๙๕ สถานีวิทยุ อ.ส. พระราชวังดุสิต
"... ผู้ที่ทำการในด้านวิทยุสมัครเล่นและวิทยุอาสา ต้องปฏิบัติการมาเป็นเวลานานพอสมควร และเข้าใจถึงเรื่องวิทยุ และวิธีศึกษาได้ดี นอกจากรู้จักหลักวิชาการและเทคโนโลยีของวิทยุ ก็จะต้องเห็นประโยชน์ของการสื่อสารที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ... สิ่งที่ได้เห็นและเห็นใจเจ้าหน้าที่ฝ่ายควบคุมความถี่ มีคลื่นวิทยุที่กวนซึ่งกันและกันมาก ทั้งโดยตั้งใจและไม่ตั้งใจ ถ้าเป็นโดยตั้งใจก็เป็นสิ่งควรแนะนำตักเตือน ถ้าเป็นโดยไม่ตั้งใจ คือทางวิชาการของการแพร่คลื่นวิทยุย่อมต้องมีการรบกวนซึ่งกันและกันได้ แต่เป็นธรรมชาติตามวิชาการของการแพร่กระจายคลื่นวิทยุที่คลื่นหนึ่งอาจไปรบกวนอีกคลื่นหนึ่งได้ อย่างนี้ถ้าเรียนรู้กันและมีวีธีแก้ไข ก็จะเป็นการดี ทางฝ่ายควบคุมความถี่นี้จึงมีความรับผิดชอบมาก...
การกวนซึ่งกันและกันของความถี่มากจากธรรมชาติ ความถี่ที่กวนกันนั้นส่วนหนึ่งไม่มีทางแก้ไข และส่วนหนึ่งแก้ไขได้ คือ ต้องปรับเครื่องให้ดี รักษาระดับความถี่ให้ดี ทั้งรักษากำลังเครื่องให้ถูกต้อง แจกจ่ายความถี่ไปในพื้นที่ที่เหมาะสม และทำงานโดยมีวินัย"
ข้อมูลจาก หนังสือ ๘๐ พรรษา ปวงประชาสุขศานต์ จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ